Journal

วารสารนานาชาติ (Inter Journal)

1. Nuntachai Chusilp, Chai Jaturapitakkul, and Kraiwood Kiattikomol, 2009, “Utilization of Bagasse Ash as a Pozzolanic Material in Concrete” Construction and Building Materials, vol. 23, pp. 3352-3358.

2. Nuntachai Chusilp, Chai Jaturapitakkul, and Kraiwood Kiattikomol, 2009, “Effects of LOI of Ground Bagasse Ash on the Compressive Strength and Sulfate Resistance of Mortars” Construction and Building Materials, vol. 23, pp. 3523-3531.

3. N Chusilp, N Likhitsripaiboon, C Jaturapitakkul, 2009, "Development of bagasse ash as a pozzolanic material in concrete" Asian Journal on Energy and Environment, vol. 10 (3), pp. 149-159.

4. Kawee Montakarntiwong, Nuntachai Chusilp, Weerachart Tangchirapat, and Chai Jaturapitakkul, 2013, “Strength and heat evolution of concretes containing bagasse ash from thermal power plants in sugar industry,” Materials and Design, vol. 49, pp. 414-420.

5. Panu Promputthankoon, Surat Promputthangkoon, and Nuntachai Chusilp, 2017, “One - storey House Designs for Tsunami – prone Areas,” Suranaree J. Sci Technol, vol. 24(4), pp. 433-444.


วารสารระดับชาติ (Nation Journal)

1. นันทชัย ชูศิลป์, 2556, “หน่วยน้ำหนักและกำลังรับแรงอัดของคอนกรีตพรุนผสมกะลาปาล์มน้ำมัน (Unit Weight and Compressive Strength of Pervious Concrete Mixed with Oil Palm Shell),” วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต (Journal of Community Development and Life Quality), ปีที่ 1, ฉบับที่ 1, มกราคม-เมษายน 2556, หน้า 97-106.

2. นันทชัย ชูศิลป์, ชนาภัทร คุ้มภัย, ชาญณรงค์ ศรีแปลก และ วิไล สิตพงศ์, “สมบัติเชิงกลของซีเมนต์เพสต์เสริมเส้นใยตาลโตนด (Mechanical Properties of Cement Paste Reinforced with Palmyra Fiber),” วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต (Journal of Community Development and Life Quality), ปีที่ 1, ฉบับที่ 2, พฤษภาคม-สิงหาคม 2556, หน้า 89-99.

3. นันทชัย ชูศิลป์, พรนรายณ์ บุญราศรี, ทรงวุฒิ ขวัญยืน, ธวัชชัย ไกรรัตน์ และ ภูริวัจน์ แซ่เลียว, 2557, “สมบัติเชิงกลของคอนกรีตผสมกระเบื้องเซรามิคที่ใช้แล้วเสริมเส้นใยเหล็กที่เหลือทิ้งจากการกลึง (Mechanical Properties of Concrete Mixed with Reused Ceramic Tiles Reinforced with Steel Fiber from Milling Processed),”วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (RMUTP Research Journal Special The 5th Rajamangala University of Technology National Conference), หน้า 664-674.

4. นันทชัย ชูศิลป์, จุฑามาศ ลักษณะกิจ, พรนารายณ์ บุญราศรื, จำรูญ สมบูรณ์ และ ทวีศักดิ์ ทองขวัญ, 2562, “การพัฒนาแผ่นมุงหลังคาจากวัสดุเหลือทิ้ง (The Development of Tile Roof from Disposal Materials),” วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (Rajamangala University of Technology Srivijaya Research Journal), ปีที่ 11, ฉบับที่ 1, ประจำเดือน มกราคม – เมษายน พ.ศ. 2562, หน้า 42-54.

5. จุฑามาศ ลักษณะกิจ, นันทชัย ชูศิลป์, 2562, “อิทธิพลของเส้นใยธรรมชาติจากวัสดุเหลือทิ้งต่อคุณสมบัติของแผ่นฝ้าเพดานไฟเบอร์ซีเมนต์ (Effect of Natural Fibers from Waste Materials on Properties of Cement Fibers Ceiling Boards),” วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Engineering Journal of Research and Development The Engineering Institute of Thailand under H.M. The King's Patronage), ปีที่ 30 ฉบับที่ 4, ตุลาคม – ธันวาคม 2562.

6. สุชาติ จันทรมณีย์, นันทชัย ชูศิลป์, ชาตรี หอมเขียว และ ดนุพล ตันนโยภาส, 2564, “ลักษณะวัสดุผสมซีเมนต์เพสต์กับเถ้าเส้นใยผลตาลโตนดใส่ท่อนาโนคาร์บอนผนังชั้นเดียวชนิดสั้นผ่านการปรับปรุงผิวภายนอกด้วยกระบวนการชุบผิวโดยไม่ใช้ไฟฟ้า (Characterization of Cement Paste Composites Blended with Palmyra Fiber Ash and Surface-treated on Short SWNT Prepared by an Electroless Plating Process),” วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564, หน้า 129 – 144.